รายการโครงงาน

01204223 Practicum for Computer Engineering

ภาคต้น ปีการศึกษา 2552 หมู่ 11,12

กลุ่มที่ 1
นายคัคนะ ธิมาชัย
นายจารุวัฒน์ อภิรัตนรุ่งเรือง
ชื่อโครงงาน: Dot Matrix มหัศจรรย์
รายละเอียด:

รับ input จากคีย์บอร์ด แล้วแสดงผลออกมาเป็นตัวอักษรทางLED Dot Matrix 6x6 โดยตัวอักษรจะวิ่งออกมาจากขวาไปซ้าย

ภาพถ่าย:
กลุ่มที่ 2
นายจตุภูมิ นาคบุรินทร์
นายพงศกร อุชุปาละ
ชื่อโครงงาน: การจับเวลาในการแข่งขันความเร็วด้วยแสง
รายละเอียด:

เครื่องมือช่วยจับเวลาที่ใช้ในการแข่งขันความเร็วโดยอาศัยหลักการวิ่งตัดแสงที่กำลังฉายไปที่ตัววัดแสง สามารถระบุจำนวนผู้เข้าแข่งขัน และรายงานเวลาที่แต่ละอันดับเข้าเส้นชัยได้

ภาพถ่าย:
กลุ่มที่ 3
นายรัฐนันท์ นงนุช
นายอุกฤษฎ์ ชัยศรี
ชื่อโครงงาน: Hero <กลุ่มสาม>
รายละเอียด:

เราได้ออกแบบฮาร์ดแวร์เป็นเกมที่คล้ายเกมกีต้าร์ฮีโร่ซึ่งตัววงจรจะรับค่าแสงจากธรรมชาติมาทำการแรนดอมการติดของไฟทั้ง3สี ให้ผู้เล่นกดปุ่มที่เรากำหนดให้บนคีย์บอร์ดตรงตามสีไฟนั้นๆทางคอมพิวเตอร์และซอฟต์แวร์จะรับค่าที่กดแล้วเช็คความถูกต้องขณะกดตามสีไฟพร้อมนับคะแนนแสดงผล นอกจากนี้ยังมีระดับความยาก/ปานกลาง/ง่ายให้เลือกเล่นในระดับยากจะใช้กดสองมือคือกดตามสีดวงไฟแล้วยังต้องใส่เลขไบนารีที่ดวงไฟปรากฎด้วย ส่วนระดับปานกลางจะต้องกดสองมือเช่นกันโดยตัวที่ต้องกดจะเพิ่มขึ้นมาอีกหนึ่งตัว และสุดท้ายระดับง่ายจะใช้การกดแค่มือเดียว ขอบคุณที่อ่านครับ <กลุ่มสาม>..

ภาพถ่าย:
กลุ่มที่ 4
นายเลอพงศ์ ชัยสิงหาญ
นายเอกลักษณ์ วชิรตรังสฤษดิ์
ชื่อโครงงาน: เครื่องดับจับขโมย!!
รายละเอียด:

1.ดักจับแสงเพื่อเช็คว่ามีใครมาค้นหรือเปิดตู้ ช่องเก็บของ ฯลฯ 2.สามารถบอกได้ว่าเมื่อใดมีแสงเข้า(เวลา)3.มีเสียงและแสงของledเป็นสัญญาณเตือนว่ามีใครมาค้นของรึเปล่า?

ภาพถ่าย:
กลุ่มที่ 5
นายกฤตติน ทูลธรรม
นายยุทธกร ยุทธกรกิจ
ชื่อโครงงาน: Melody Board
รายละเอียด:

วงจรอ่านไฟล์เสียง .mid แล้วแสดงเสียงออกจากลำโพง

ภาพถ่าย:
กลุ่มที่ 6
นายบริรักษ์ มูลผลา
นายอังคาร สุวัฒนกร
ชื่อโครงงาน: ยางยีเยา ระระระเรามาเป่ายิ้งชุบ
รายละเอียด:

เป็นเกมเป่ายิ้งฉุบ โดยมีจอยสองจอย แต่ละจอยจะมีปุ่มกดสามปุ่มคือค้อน กรรไกร กระดาษ

ภาพถ่าย:
กลุ่มที่ 7
นายวิทยา อัศวเสถียร
นายธนรัตน์ เนื่องจำนงค์
ชื่อโครงงาน: Real Random จาก LDR
รายละเอียด:

ค่าrandomที่ได้เกิดจากLSBของLDRแต่ละตัวโครงงานนี้สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการสุ่มตัวเลข สุ่มแต้มลูกเต๋า สุ่มไพ่ทาโรต์ ฯลฯ และสามารถต่อยอดนำไปใช้ในการเขียนเกม เขียนโปรแกรม ที่ต้องใช้ค่าrandomได้โดยค่าที่randomได้ไม่มีpatternแน่นอน ถึงแม้จะไม่มีแสงเลยก็ตามก็ยังสามรถสุ่มค่าได้เหมือนมีแสงทุกระดับ

ภาพถ่าย:
กลุ่มที่ 8
นางสาวอรุณี ไชยชาญ
นางสาวบรรจงภรณ์ เตพิมลรัตน์
ชื่อโครงงาน: heart-to-heart
รายละเอียด:

ใช้ตัววัดแสงวัดความสว่าง หากสว่างมาก ดวงไฟจะวิ่งรอบหัวใจหากแสงน้อย ดวงไฟจะกระพริบเป็นรูปหัวใจ

ภาพถ่าย:
กลุ่มที่ 9
นางสาวรัตนาวดี เมธากุลชาติ
นายพงศกร แข็งแรง
ชื่อโครงงาน: เครื่องมือวัดระดับแสง
รายละเอียด:

เป็นอุปกรณ์ที่ใช้ในการวัดระดับแสง โดยแบ่งเป็น สิบสองระดับ ประกอบด้วยไฟเขียวเหลืองแดงอย่างละสามหลอด

ภาพถ่าย:
กลุ่มที่ 10
นายธีรพล เตียวมรกฏ
นายประยุกต์ เจตสิกทัต
ชื่อโครงงาน: ควบคุมทิศทางรถด้วยเสียง
รายละเอียด:

สร้าง Controller ที่ใช้เสียงในการสั่งงาน ซ้าย ขวา ด้วย microphone 2 ชุดพร้อมสาธิตการนำไปใช้บังคับเกมขับรถอย่างง่ายๆ

ภาพถ่าย:
กลุ่มที่ 11
นายชนกานต์ ฤทธินนท์
นายจักรพันธ์ ยกเซ็น
ชื่อโครงงาน: KID's memory
รายละเอียด:

เกมทดสอบความจำโดยจะมีไฟอยู่สามสีให้จำลำดับการขึ้นของไฟ แล้วให้เรากดตามลำดับไฟที่ขึ้น เก็บคะแนนไว้ในคอมพิวเตอร์ ระดับความยากจะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆเมื่อผู้เล่นเล่นผ่านในแต่ละระดับได้

ภาพถ่าย:
กลุ่มที่ 12
นายสิทธิพันธุ์ เกษมวิลาศ
นายนันท์ดนัย ติงสมบัติยุทธ์
ชื่อโครงงาน: IR Combat Master(The prototype)
รายละเอียด:

เกมยิงปืนที่ใช้ Infrared เป็นสื่อกลางในการเชื่อมต่อระหว่างปืนและที่รับ โดยทุกๆคนจะมีเครื่องรับติดอยู่กับตัวและปืนซึ่งมีแค่แหล่งจ่ายไฟเท่านั้น โดยข้อมูลจากที่รัจะถูกส่งเข้าไปหา server เพื่อเก็บสถิติ เช่น ใครสามารถยิงใครเสียชีวิตได้เมื่อเวลาใด เป็นต้น

ภาพถ่าย:
กลุ่มที่ 13
นายจิโรจน์ ปิติสุขสมบัติ
นายอาณกร จงยินดี
ชื่อโครงงาน: Tic Tac Toe
รายละเอียด:

ผู้เล่นสองคนเล่น Tic Tac Toe บน python บนคอมพิวเตอร์ แล้วเกมจะแสดงผล score ออกทาง ไฟ led บนบอร์ดใครชนะ 3 เกมก่อนชนะ (ไฟติดครบ 3 ดวง --->ไฟแสดงว่าผู้ชนะคือใครติด)

ภาพถ่าย:
กลุ่มที่ 14
นายณัฐนนท์ ธรรมศิรารักษ์
นายณัฐ ศรชำนิ
ชื่อโครงงาน: Duck Hunt
รายละเอียด:

หากใครเคยเล่นเกมจากเครื่อง familcom มาก่อนคงจำได้ดี กับเกมยิงเป็ด ซึ่งใช้จอยที่เป็นปืนในการยิงเป็ด บนจอทีวีของเราโครงงานนี้ได้ใช้หลักการเดียวกัน มาทำเป็นเกมยิงเป็ด บน PC ขึ้นมา

ภาพถ่าย:
กลุ่มที่ 15
นางสาวธนัญชนก สีแตง
น.ส.ศวีนา บาระมีชัย
ชื่อโครงงาน: ประตูอัจฉริยะ
รายละเอียด:

สามารถนับคนผ่านเข้าประตู เมื่อคนผ่านประตูจะมีเสียงดัง และมี LED แสดงระดับความหนาแน่น

ภาพถ่าย:
กลุ่มที่ 16
นายคเชนทร์ จันทร์ขาว
นางสาวพินทุสร กสินธุ์มานะวาท
ชื่อโครงงาน: People in the Room
รายละเอียด:

นับจำนวนคนที่เข้าออกจากห้อง และไฟในห้องจะปิดเปิดอัตโนมัติถ้ามีคนอยู่ในห้องและแสงสว่างในห้องน้อย 51050540 นายคเชนทร์ จันทร์ขาว51052769 นางสาวพินทุสร กสินธุ์มานะวาท

ภาพถ่าย:
กลุ่มที่ 17
นางสาวอภิชญา ปธานวนิช
นางสาวศิณีพร คันธะวิชัย
ชื่อโครงงาน: สิ่งที่ฉันสามารถควบคุมได้ในวันที่ฉันก่งก๊ง
รายละเอียด:

ตรวจสอบแสงว่าน้อยหรือไม่ แสงน้อยก็ไฟledเตือนให้เปิดไฟ และ เชคความชื้นในดินว่าควรจะรดน้ำต้นไม้ได้รึยัง ถ้าควรจะรดได้แล้วก็จะมีไฟ led ขึ้น

ภาพถ่าย:
กลุ่มที่ 18
นายวิริยะ มนตรีวสุวัฒน์
นายเสกสรรค์ อุ่นแสงจันทร์
ชื่อโครงงาน: light out จอมป่วน
รายละเอียด:

เกมครับ เป็นการจำลองเกม light out ลงบนบอร์ด โดยใช้ LED แทนจุดแต่ละจุด เมื่อเราเล่นชนะไฟจะวิ่งวน ทั้งหมดนี้สั่งการจากคอมพิวเตอร์

ภาพถ่าย:
กลุ่มที่ 19
นายณัฐดนัย ผลภาค
นายพิพัฒน์ หลีรัตนะ
ชื่อโครงงาน: กระปุกออมสิน
รายละเอียด:

นับเงินที่ใส่เข้าไปได้(แยกเหรียญบาท เหรียญห้า เหรียญสิบได้)

ภาพถ่าย:
กลุ่มที่ 20
นางสาวพัฒนมนต์ ทองตะนุนาม
นายจักรกฤช ตันติธรรมถาวร
ชื่อโครงงาน: ระบบ เมนูไอศกรีม อิเล็กโทรนิกส์
รายละเอียด:

แผ่นเมนูอิเล็กโทรนิกส์ ที่มีปุ่มสามารถกดเลือก ไอศกรีม และส่งข้อมูลไปยัง เว็บไซต์เพื่อเก็บข้อมูล

ภาพถ่าย:
กลุ่มที่ 21
นายวิทวัส วิสารกาญจน
ชื่อโครงงาน: โปรแกรมวัดและบันทึกอุณหภูมิ
รายละเอียด:

ใช้ sensor รับค่าอุณหภูมิจากภายนอกและเก็บบันทึกเป็นช่วงเวลาในรูปกราฟ

ภาพถ่าย:
กลุ่มที่ 22
นายธนาธิป พิศาลชนานันท์
นายเพชร ชนะพันธ์
ชื่อโครงงาน: วงจรเปิดปิดอัจฉริยะ
รายละเอียด:

โครงงานนี้เป็นโครงงานที่เกี่ยวกับการนำเอาแสงเลเซอร์มาใช้ตรวจจับวัตถุว่ามีอยู่หรือไม่ โดยวัตถุก็คือคนนั้นเอง ซึ่งเมื่อสามารถตรวจจับได้ว่ามีคนอยู่ระบบก็จะส่งคำสั่งให้เครื่องใช้ไฟฟ้าที่ต่อกับวงจรนี้ให้เปิดทำงานอัตโนมัติทันที แล้วเมื่อตรวจได้ว่าไม่มีคนอยู่แล้วระบบก็จะปิดการทำงานของเครื่องใช้ไฟฟ้าที่นำมาต่อโดยอัตโนมัติเช่นกัน

ภาพถ่าย:
กลุ่มที่ 23
นายณัฐพล รัญเสวะ
นายพศวัต แซไซย
ชื่อโครงงาน: HDD Clock in one week
รายละเอียด:

นาฬิกาจากฮาร์ดดิสก์

ภาพถ่าย:
กลุ่มที่ 24
นายวรวุฒิ เปรมกมลมาศ
นางสาวอาภัสสร ชูลิขิต
ชื่อโครงงาน: ผ่านแล้วปิ๊งผ่านแล้วนับ
รายละเอียด:

เป็นวงจรที่ใช้ในการเปิดไฟในสวนสาธารณะ เมื่อมีคนเดินผ่านเสาไฟไฟก็จะติดเป็นเวลาห้าวินาทีและสามารถนับคนได้ว่ามีคนผ่านเสาไฟนี้วันละกี่คน

ภาพถ่าย:
กลุ่มที่ 25
นางสาวชนามาศ วัฒนะโรจน์ภิญโญ
นางสาววรรษพร โตสุขศรี
ชื่อโครงงาน: เกมส์ชูตบาส
รายละเอียด:

ลักษณะเหมือนการเล่นบาส โดยใช้ตัวรับแสงเปนอินพุต เมื่อมีลูกบอลผ่านตัวรับแสงในระยะใกล้ๆ คล้ายกับการที่ชูตลงห่วง ค่าของตัวรับแสงจะมีการเปลี่ยนแปลง ก็จะบวกคะแนนเพิ่มให้ผู้เล่น

ภาพถ่าย:
กลุ่มที่ 26
นายณฐ โชควิทยา
นายจิรศักดิ์ เล็กไม่น้อย
ชื่อโครงงาน: ป้ายเปลี่ยนตัวนักกีฬา
รายละเอียด:

1.ป้ายแสดงหมายเลขเปลี่ยนตัวนักกีฬา ขนาดเล็ก (จำลอง)2.ป้ายแสดงเวลาการทดเวลาบาดเจ็บสำหรับกีฬาบางชนิด3.สั่งงานผ่าน Python

ภาพถ่าย:
กลุ่มที่ 27
นายศุภกร เรืองสิวะกุล
นายสินธพ สินธุวงษ์
ชื่อโครงงาน: หลอดไฟสุดจี๊ด...วัดสปีดเด็กคอม
รายละเอียด:

เป็นเกมส์วัดความไว โดยไฟจะขึ้นตามหลอดไฟ แล้วผู้เล่นต้องกดปุ่มตามให้ไวที่สุด

ภาพถ่าย:
กลุ่มที่ 28
นายนวิน มาดิการ
นายวรทย์ ทองบัณฑิต
ชื่อโครงงาน: Pip pip Clock ~
รายละเอียด:

ตั้งเวลาปลุก หรือ นับเวลาถอยหลัง โดยรับinputทางเว็บเมื่อถึงเวลาจะมีเสียงดัง ปิ๊บๆ ที่บอร์ด และสามารถกดปุ่มเพื่อหยุดเสียงเตือน

ภาพถ่าย:
กลุ่มที่ 29
นายณัฐวุฒิ ถนอมวงษ์
นายชิดชัย ปธานวนิช
ชื่อโครงงาน: count push down switch
รายละเอียด:

มี สอง สวิซกดติดปล่อยดับใช้เป็น ตัวนับ ครั้งที่กด ตัวละฝังถ้า ฝังไหนมี จำนวนครั้งที่ มี ครั้งกดมากกว่า จะมีไฟติดที่ฝั่งนั้น แดง-เขียวถ้าเท่ากัน จะติดไฟ สีเหลือง

ภาพถ่าย:
กลุ่มที่ 30
นายคุณาวุฒิ นันทะนะ
นายวรวัชร พันธุ์ชาตรี
ชื่อโครงงาน: LM35DZ
รายละเอียด:

ระบบวันอุณหภูมิ โดยใช้ LM35DZ เป็น sensor ในการวัดอุณหภูมิ

ภาพถ่าย:
กลุ่มที่ 31
นายณัฐพล เอี่ยมพร
นายวุฒิพงษ์ วิสุทธิธาดา
ชื่อโครงงาน: Remote control
รายละเอียด:

เพิ่มตัวรับ IR ในวงจรเพื่อรับสัญญาณจาก remote สามารถเปิด ปิด switch ไฟได้ และสามารถทดสอบปุ่มใน remote ได้...โดย นายวุฒิพงษ์ วิสุทธิธาดา

ภาพถ่าย:
กลุ่มที่ 32
นางสาวชุติมณฑน์ ครามะคำ
นางสาวอัจฉรา ศรัทธาสถาพรชัย
ชื่อโครงงาน: smart_pump
รายละเอียด:

ควบคุมปั้มน้ำ (ใช้แทนระบบลูกลอย)อัตโนมัติ -> เมื่อระดับน้ำไม่ถึงระดับน้ำน้อยสุด(น้ำใกล้หมด) จะสั่งให้ปั้มน้ำทำงานเพื่อเติมน้ำให้เต็ม

ภาพถ่าย:
กลุ่มที่ 33
นายศิภูมิ วิปุลากร
นายปารเมศ ลิ้มตระกูล
ชื่อโครงงาน: light synchronize
รายละเอียด:

ส่งข้อมูลจากคอมพิวเตอร์เครื่องหนึ่ง ไปยังอีกเครื่องหนึ่งแบบไร้สาย โดยการใช้แสง

ภาพถ่าย:
กลุ่มที่ 34
นายฐิติพงษ์ โมเครือ
นายอัฐพงศ์ ชูละออง
ชื่อโครงงาน: Battery Checker
รายละเอียด:

ทำการวัด ค่าความต่างศักดิ์ ที่เหลืออยู่ใน แบตเตอรี่ เพื่อจะได้ทราบว่า แบตเตอรี่ก้อนนั้น ยังามารถใช้งานได้หรือไม่

ภาพถ่าย:
กลุ่มที่ 35
นางสาววริศรา วีรเสนีย์
นายอติเทพ กิติธีระกุล
ชื่อโครงงาน: Brightness Automatic Controller
รายละเอียด:

รับแสงสว่างจากภายนอก แล้วปรับแสงของหน้าจอคอมพิวเตอร์ให้เหมาะสมกับแสงจากภานนอกโดยอัตโนมัติ เพื่อความสบายตาของผู้ใช้

ภาพถ่าย:
กลุ่มที่ 36
นายชนินทร์ จันทร์วงศ์
นายมีชัย เจริญศักดิ์
ชื่อโครงงาน: เครื่องเตือนรดน้ำต้นไม้
รายละเอียด:

โปรเจกนี้ เป็นโปรเจกที่ทำขึ้นเพื่อเตือนให้ผู้ใช้รู้ว่าถึงเวลารดน้ำต้นไม้ของคุณแล้วโดยทำงานด้วย สายไฟสองเส้น ที่เมื่อนำมาเสียบลงดิน แล้วจะสามารถวัดความต้านทานได้โดยถ้าดินเปียกความต้านทานจะน้อย ไฟจะไหลผ่านได้มาก ในทางกลับกันถ้าดินแห้งความต้านทานจะสูง ไฟจะไหลผ่านได้น้อยเราจึงสามารถนำมาคำนวณปริมานไฟฟ้าที่ไหลผ่านได้ ซึ่งนำมาคิดเป็นเปอร์เซ็นต์แล้วแสดงออกทางโฮมเพจเว็บไซต์ด้วย ดีจังโก้ อีกด้วย

ภาพถ่าย:
กลุ่มที่ 37
นายณัฐพงศ์ จุลเด็น
นายวัชฤทธิ์ เขื่อนเพชร
ชื่อโครงงาน: อุปกรณ์บอกทิศทาง
รายละเอียด:

รับข้อมูลจากเครื่องคอมพิวเตอร์ เพื่อบอกทิศทาง(ซ้าย ขวา หน้าหลัง)โดยใช้ LED

ภาพถ่าย:
กลุ่มที่ 38
นายอภิสฤษฏิ์ คมชาญวริทธิ์ธร
นายวีรพล พูลพิเศษ
ชื่อโครงงาน: LED หลากรูปแบบ
รายละเอียด:

สามารถแสดงไฟจาก LED ได้ โดยมีสามแบบ คือ แสดงไฟทั้งหมด แสดงไฟทีละดวง และแสดงไฟตามแสงที่อยู่รอบๆโดยถ้าแสงน้อยไฟจะติด ถ้าแสงมากไฟจะดับ

ภาพถ่าย:
กลุ่มที่ 39
นายภูมัย ชายเขียว
ชื่อโครงงาน: music player
รายละเอียด:

เขียนโปรแกรมควบคุมการเล่นเพลงของ Rhythmbox โดยให้มีปุ่ม play/pause, next, prev และมีไฟแสดงสถานะของเพลง

ภาพถ่าย:
กลุ่มที่ 40
นายจิรณัฐ กิตติภัสสร
นายพีรวิชญ์ คันธศักดิ์ศิริ
ชื่อโครงงาน: Guitar Hero
รายละเอียด:

อุปกรณ์จอยเกมส์ ในรูปแบบของ กีตาร์ สำหรับเกมส์แนวดนตรี- เป็นอุปกรณ์แทนการส่งข้อมูลทางแป้นพิมพ์สู่โปรแกรม

ภาพถ่าย:
กลุ่มที่ 41
นายศรัณย์ บูรณะการเจริญ
นายปวเรศ สกุณี
ชื่อโครงงาน: Water Level Warning
รายละเอียด:

เป็นอุปกรณ์ที่นำไปติดในภาชนะใส่น้ำ โดยแสดงผลของระดับน้ำออกมาเป็นไฟ 5 ระดับ สามารถใช้เตือนเมื่อน้ำใกล้ล้น

ภาพถ่าย:
กลุ่มที่ 42
นายนรุตม์ ศิริทิพย์
นายพีรัท กนกวลัย
ชื่อโครงงาน: เลเซอร์เปลี่ยนสถานะ
รายละเอียด:

เมื่อยิงเลเซอร์เข้าที่ตัวรับแสง จะทำให้สถานะเปลี่ยนไป โดยแต่ละสถานะ จะแสดงผลที่ต่างกัน(จำลองโดยใช้ ไฟ led ทั้ง 3 ดวง)

ภาพถ่าย:
กลุ่มที่ 43
นายพีรภัทร จักรไพศาล
นายนัทธ์ สุขวัจน์
ชื่อโครงงาน: Electric Socket
รายละเอียด:

ปลั๊กไฟที่สามารถควบคุมการจ่ายไฟผ่าน Internet ได้

ภาพถ่าย: