รายละเอียดโครงงาน

หลักสูตร/ปี พ.ศ.
วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ปี พ.ศ. 2566

ภาคและปีการศึกษาที่สำเร็จการศึกษา
ภาคต้น ปีการศึกษา 2565

ประเภทโครงงาน
โครงงานวิศวกรรม

ชื่อโครงงานภาษาไทย
พัฒนาระบบตรวจจับข้าวโพดปนเปื้อน

ชื่อโครงงานภาษาอังกฤษ
Detect Foreign Matter in Corn

ผู้พัฒนา
6010505828 ณัฐชนันท์ ชวภัทรโสภณ

อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก
ประดนเดช นีละคุปต์

อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม
-

บทคัดย่อ

โครงงานวิศวกรรมฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาการเเยกสิ่งปนเปื้อนออกจากวัตถุดิบในการผลิตอาหารสัตว์ การคัดแยกวัตถุแปลกปลอมเป็นขั้นตอนหนึ่งที่จำเป็น โดยการคัดแยกเกรดดังกล่าวมีความต้องการความละเอียดที่สูงมาก จนถึงต้องให้การนำเข้าเครื่องจักรพิเศษมาใช้ในประเทศไทย จึงเป็นส่วนที่ทำให้เกิดความสนใจในการศึกษา เรื่องการตรวจจับสิ่งแปลกปลอม
คุณภาพของเมล็ดข้าวโพดมีห้าปัจจัย ได้แก่ ความชื้น ปริมาณเมล็ดสีอื่น แมลงศัตรูพืช เมล็ดเสีย และ สิ่งแปลกปลอม โดยผู้จัดทำโครงงานจะมุ่งเน้นไปที่สิ่งแปลกปลอมซึ่งส่วนใหญ่จะประกอบไปด้วย แกลบ หินฝุ่น ซังและใบไม้ โดยผู้ทำโครงงานจะเเบ่งทดลองตามสมมติฐานความเป็นไปได้ ได้เเก่ กลุ่มที่ 1 ภาพหิน ใบไม้ เศษกระดาษ (วัตถุขนาดไม่เล็กกว่าข้าวโพด) กลุ่มนี้จะมีผลการทดลองออกมาดีอย่างไม่ต้องสงสัย กลุ่มที่ 2 ภาพข้าวโพดเเละทราย(วัตถุขนาดเล็กกว่าข้าวโพด) กลุ่มนี้จะมีผลลัพธ์หากว่าตามสมมติฐาน โอกาสที่คอมพิวเตอร์จะเห็นเม็ดทรายเล็กๆแทบเป็นไปไม่ได้และเครื่องจักรพิเศษใช้วิธีการอื่นในการตรวจจับทราย กลุ่มที่ 3 ภาพซังข้าวโพด ใบไม้เเห้ง(วัตถุสีคล้ายข้าวโพด) กลุ่มนี้มีปัญหาตั้งเเต่การ Lebel ไม่สามารถ lebel ได้ครบถ้วน เเละกลุ่มสุดท้ายจับเฉพาะข้าวโพด กลุ่มนี้จัดเป็นกลุ่มที่ผู้จัดทำโครงงานตั้งความหวังไว้เพราะ หากทำได้สำเร็จบริเวณที่ถูกเว้นว่างบริเวณนั้นจะถูกนันว่าปนเปื้อน โดยที่เรียนรู้เเค่ข้าวโพดไม่จำเป็นต้องรู้จักอะไรเพิ่ม

Abstract

This engineering project aims to detect foreign matter in raw materials for producing animal feed. Detecting foreign matter is a necessary step. Detecting foreign matter is a need for very high precision. Until having to provide imports of Special machinery to operate in thailand. It is the part that causes interest in studying. Detect Foreign Matter in Corn
Corn seed quality there are five factors including humidity, other colored seeds, insect pests, damaged seeds and foreign matter. Project organizer will focus on foreign matters. Most of them will consist of rice husks, rock dust, cobs and leaves.The project organizer will divide up the experiments according to the assumptions. Viz Group 1: Pictures of rocks, leaves, scraps of paper (bigger than corn) this group will undoubtedly have good experimental results. Group 2: Pictures of corn and sand ( smaller than corn) This group will have results if they are as hypothesized. The chance that a computer will detect a grain of sand is almost impossible and special machines use other methods for detecting sand. Group 3: Pictures of corn cobs Dry leaves (corn-colored objects) this group has problems starting with Label being unable to label completely. The last group only detects corn This group is the group that the project organizers had hoped for. Areas that are left unoccupied are considered foreign matter. By labeling only corn, there is no need to label anything more.

คำสำคัญ (Keywords)

Lebel

เว็บไซต์โครงงาน
-

วีดีโอคลิปของโครงงาน

ที่เก็บเวอร์ชันซอร์สโค้ด

https://universe.roboflow.com/ku-fmmwm/corn-ka8ai
https://universe.roboflow.com/ku-fmmwm/corn-sand
https://universe.roboflow.com/ku-fmmwm/cob-zzuer
https://universe.roboflow.com/ku-fmmwm/corn-loybb


สถานะการนำเข้าข้อมูล

ผู้นำเข้าข้อมูลครั้งแรก
ณัฐชนันท์ ชวภัทรโสภณ (b6010505828)

แก้ไขครั้งสุดท้าย
เมื่อ Oct. 20, 2023, 2:42 a.m. โดย ณัฐชนันท์ ชวภัทรโสภณ (b6010505828)

สถานะการอนุมัติ
รออนุมัติ