รายละเอียดโครงงาน

หลักสูตร/ปี พ.ศ.
วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ ปี พ.ศ. 2566

ภาคและปีการศึกษาที่สำเร็จการศึกษา
ภาคฤดูร้อน ปีการศึกษา 2566

ประเภทโครงงาน
วิทยานิพนธ์

ชื่อโครงงานภาษาไทย
การส่งข้อมูลอย่างมีประสิทธิภาพในระบบประมวลผลที่ขอบสาหรับระบบ ตรวจจับสิ่งแวดล้อมที่มีการเปลี่ยนแปลงน้อย

ชื่อโครงงานภาษาอังกฤษ
ENERGY-EFFICIENT DATA TRANSMISSION IN EDGE COMPUTING DEDICATE TO GRADUAL CHANGING ENVIRONMENT MONITORING

ผู้พัฒนา
6314501458 นายธีรภัทร ดีประเสริฐ

อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก
อนันต์ ผลเพิ่ม

อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม
อภิรักษ์ จันทร์สร้าง

บทคัดย่อ

ในระบบตรวจจับสิ่งแวดล้อมเซนเซอร์ส่วนใหญ่ถูกติดตั้งในพื้นที่ห่างไกลและไม่
สามารถเข้าถึงแหล่งพลังงานไฟฟ้าได้ การใช้พลังงานของเซนเซอร์จึงต้องใช้งานอย่างมี
ประสิทธิภาพมากที่สุดเพื่อยืดระยะเวลาการทางานของเซนเซอร์ การเปลี่ยนแปลงของ
สภาพแวดล้อมมีบางช่วงที่มีการเปลี่ยนแปลงน้อย ข้อมูลที่เซนเซอร์ส่งในช่วงเวลาดังกล่าวจึงเป็น
ข้อมูลที่ซ้า หรือมีความสา คัญน้อย ใช้พลังงานของเซนเซอร์โดยเปล่าประโยชน์
งานวิจัยนี้นา เสนอวิธีการส่งข้อมูลอยู่มีประสิทธิภาพในระบบตรวจจับสิ่งแวดล้อม
ที่ใช้รูปแบบการเชื่อมต่อเพื่อใช้งานการประมวลผลขอบโดยลดการส่งข้อมูลในช่วงเวลาที่
สภาพแวดล้อมมีการเปลี่ยนแปลงน้อย วิธีการที่นาเสนอเปลี่ยนให้เซนเซอร์รับรู้ถึงความ
เปลี่ยนแปลงของข้อมูลที่ถูกสังเกตจากสิ่งแวดล้อมด้วยการเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่าง
ข้อมูลที่สังเกตได้กับข้อมูลที่เซนเซอร์ส่งให้แอคเซสพอยต์ในครั้งก่อนหน้าว่ามีความสาคัญมาก
พอที่จะส่งหรือไม่ หากความแตกต่างของข้อมูลมีมากพอข้อมูลจะถูกส่งตามปกติแต่หากข้อมูลมี
ความแตกต่างน้อยหรือนับว่ามีความสาคัญน้อยข้อมูลจะไม่ถูกส่งจากเซนเซอร์และให้แอค
เซสพอยต์ใช้ข้อมูลก่อนหน้าส่งต่อให้ฐานข้อมูล ลดการใช้พลังงานของโหนดเซนเซอร์ในการส่ง
ข้อมูล การทดลองในงานวิจัยนี้แสดงความสามารถการลดพลังงานที่ใช้ในโหนดเซนเซอร์จับ
อุณหภูมิอากาศได้ถึง 59.56% และลดพลังงานที่ใช้ในโหนดเซนเซอร์จับตาแหน่งกวางได้ถึง
75.77% โดยแลกกับความแม่นยา ที่น้อยลง

Abstract

In most environment monitoring, sensors are installed in remote areas where
power may be limited. Efficient energy usage of sensor nodes is needed to prolong the sensor
node’s lifetime. There are times in an environment when changes are minor, most data sent in
the period will be duplicate data or data of less significance, leading to unnecessary power
consumption in sensor nodes.
In this research, an energy-efficient data transmission in environment monitoring
that used an edge computing paradigm by reducing the number of data sent in periods where
the change in environment is minor is proposed. The proposed method makes sensor nodes
aware of the degree of change in data collected from the environment by comparing the data
collected with previous data that sensor nodes sent to the access point to decide whether the
collected data is significant. If the data is significant, it will be sent along normally. But if the
data is deemed not significant enough, the sensor will not send the data and let the access point
send previous data to the database instead, reduce the power consumption of sensor nodes to
send data. Testing shows power reduction efficacy in air temperature sampling sensors at
59.56% and power reduction efficacy in elk tracking sensors at 75.77% by trading off with a
reduction in data precision.

คำสำคัญ (Keywords)

การประมวลผลที่ขอบ
การเฝ้าสังเกตสิ่งแวดล้อม

เว็บไซต์โครงงาน
-

วีดีโอคลิปของโครงงาน
-

ที่เก็บเวอร์ชันซอร์สโค้ด

-


สถานะการนำเข้าข้อมูล

ผู้นำเข้าข้อมูลครั้งแรก
นายธีรภัทร ดีประเสริฐ (g6314501458)

แก้ไขครั้งสุดท้าย
เมื่อ Aug. 18, 2023, 11:29 p.m. โดย นายธีรภัทร ดีประเสริฐ (g6314501458)

สถานะการอนุมัติ
รออนุมัติ